ความแตกต่าง “สิ่งที่พ่อแม่เห็น vs สิ่งที่ลูกคิด” เกิดจากจินตนาการของเด็ก ๆ

966

ความคิดของเด็กมักถูกเสริมด้วยจินตนาการ เราจึงมีภาพเปรียบเทียบ สิ่งที่พ่อแม่เห็น vs สิ่งที่ลูกจินตนาการ จะเป็นอย่างไร ไปชมกันเลย

1. เล่นกับตุ๊กตา

สิ่งที่พ่อแม่เห็นจะเป็นตุ๊กตาๆ ทั่วไป แต่สำหรับโลกของเด็ก เด็กสามารถสร้างเรื่องราวต่างๆ ให้กับตุ๊กตาได้ พูดกับตุ๊กตา หรือทำท่าป้อนขนม ป้อมนมให้

2. เมื่อออกไปเล่นข้างนอก

สิ่งที่พ่อแม่เห็นคือ เด็กกำลังวิ่งเล่นอย่างสนุกสนานกับเครื่องบินของตัวเองอยู่ แต่สิ่งที่เด็กๆ เห็นนั้นจะแตกต่างมาก เด็กได้จินตนาการถึงขั้นขึ้นไปบินอยู่บนอวกาศแล้ว

3. การเดินบนหินปูน

สิ่งที่พ่อแม่เห็นเป็นการเดินบนหินปูนธรรมดา แต่สิ่งที่ลูกเห็นนั้นล้วนแล้วแต่จินตนาการถึงสิ่งน่ากลัวๆ

4. เมื่อเล่นสนุกกับพ่อแม่

หลายครอบครัวมีการเลี่ยงดูลูกๆ ที่แตกต่างกันออกไป แต่การเล่นแบบนี้เชื่อว่าเด็กหลายๆ คน คงเคยเล่นมาอย่างแน่นอน และดูสิ่งที่พ่อแม่เห็นเมื่อเล่นกับเรา และสิ่งที่เราเห็นสิ โลกของเรามันเต็มไปด้วยจินตนาการล้วนๆ

5. เมื่อยืนต่อแถวชื้อของที่ร้านค้า

เมื่อได้คิว พ่อแม่มักจะบอกให้ลูกยืนรอ พร้อมกับบอกลูกว่าอย่าไปไหนจนกว่าตนเองจะกลับมา ในขณะที่ลูกยืนรออยู่ที่เดิมอย่างตั้งใจ เหมือนได้รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชา

6. การเรียนรู้เคล็ดลับใหม่ๆ

สิ่งที่พ่อแม่สอนจะเป็นสิ่งที่ง่ายๆ อย่างเช่นผูกเชือกรองเท้า แต่สิ่งที่ลูกเห็นยากราวกับเป็นงานวิทยาศาสตร์

7. เมื่อพ่อทำงานช่าง

สิ่งที่พ่อเห็นก็เป็นเรื่องปกติอะไรซ่อมได้ก็ซ่อมเอง แต่สิ่งที่ลูกเห็น พ่อจะเป็นฮีโร่ของบ้านเสมอ

8. ห้องมืด

สิ่งที่พ่อเห็นคือไม่มีอะไร แต่สิ่งที่ลูกคิด คือกลัวไปต่างๆ นาๆ

9. เล่นซ่อนแอบ

สิ่งที่พ่อแม่เห็นคือลูกเล่นตามปกติ แต่สิ่งที่ลูกเห็นคือการเล่นที่สนุกสนานมาก และมีจินตนาการต่างๆ ในการเล่น

10. การวิ่งแข่ง

สิ่งที่พ่อแม่เห็นเป็นวิ่งวิ่งแข่งปกติ แต่สิ่งที่ลูกเห็นนี้ถ้าชนะได้เป็นแชมป์อลิมปิก 3 สมัยเลยนะ

11. เมื่อวาดรูปแม่

สิ่งที่แม่เห็น ครั้งต่อไปลูกต้องวาดได้ดีกว่านี้ แต่สิ่งที่ลูกคิดเมื่อวาดรูปให้แม่ นี้คือรูปที่สวยที่สุด เป็นสุดยอดงศิลปะแล้วล่ะ

12. เมื่อลืมของ

พ่อแม่ก็หยิบให้ตามปกติ แต่สิ่งที่ลูกๆ คิด เหมือนได้รับกล่องช่วยชีวิต

13. ไปเล่นสกี

พ่อแม่รู้สึกธรรมดาๆ แต่สิ่งที่ลูกเห็นคือไปเล่นระดับโลกแล้ว

สิ่งที่พ่อแม่เห็น กับสิ่งที่เด็ก ๆ เห็นนั้นแตกต่างกันมาก เห็นแบบนี้แล้วเราน่าจะเข้าใจโลกของเด็กมากขึ้นนะ

ขอบคุณที่มา : brightside